Tencent Cloud
Tencent Cloud
เทนเซ็นต์ คลาวด์ | IoT hub

เทนเซ็นต์ คลาวด์ | IoT hub

แพลตฟอร์มการเชื่อมต่อ IoT ที่ปลอดภัย เสถียร และมีประสิทธิภาพ

ติดต่อฝ่ายขาย

ภาพรวม

บริการประมวลผลสื่อ (Media Processing Service: MPS) ของเทนเซ็นต์ คลาวด์ คือบริการแปลงไฟล์และประมวลผลมัลติมีเดียในคลาวด์ ที่สามารถรับมือข้อมูลมัลติมีเดียจำนวนมากได้ MPS ทำหน้าที่แปลงไฟล์เสียงและวิดีโอออนดีมานด์ โดยผู้ใช้สามารถปรับอัตราบิตและค่าความละเอียดของข้อมูลมัลติมีเดียได้อย่างยืดหยุ่น เพื่อให้เหมาะสมกับบริการ OTT หรือการเปิดชมย้อนหลังผ่านเครื่องพีซีหรือมือถือ MPS ยังให้บริการประมวลผลวิดีโอ อย่าง การใส่ลายน้ำ การถ่ายภาพหน้าจอ การทำภาพปกและการปรับแต่งไฟล์ที่ชาญฉลาด

ประโยชน์

การเข้าถึงที่เรียบง่ายและรวดเร็ว

การเข้าถึงที่เรียบง่ายและรวดเร็ว

เพียงใช้งานคอนโซล SDK หรือ API คลาวด์ ผู้ใช้ก็จะสามารถเปิดใช้งานการเข้าถึงอุปกรณ์และการสื่อสารข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องกังวลเรื่องรายละเอียดโปรโตคอลการสื่อสารขั้นพื้นฐานใดๆ
การถ่ายโอนที่ปลอดภัยและเชื่อถือได้

การถ่ายโอนที่ปลอดภัยและเชื่อถือได้

มีการวางโปรโตคอลการถ่ายโอนเครือข่ายที่ปลอดภัยสำหรับการเข้าถึงอุปกรณ์และการถ่ายโอนข้อมูล โดยมีการกำหนดว่าอุปกรณ์ทุกชิ้นจะต้องได้รับการอนุญาตและยืนยันตัวตนด้วยใบรับรองอุปกรณ์ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาต และการโจรกรรมและก่อกวนข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การรับประกันความปลอดภัยแบบเต็มเวลาที่เสถียร

การรับประกันความปลอดภัยแบบเต็มเวลาที่เสถียร

ด้วยประสบการณ์ด้านการบริการที่หลากหลายที่สั่งสมมาหลายปีของเทนเซ็นต์ ทำให้ระบบหลังบ้านของระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกสามารถกู้ข้อมูลคืนจากความเสียหายและระบบกระจายคำสั่งได้อัตโนมัติ จึงสามารถให้บริการระบบปฏิบัติการและบริการเฝ้าสังเกตตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน
ระบบปรับขยายโครงสร้างที่ยืดหยุ่น

ระบบปรับขยายโครงสร้างที่ยืดหยุ่น

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกใช้หลัก Rule Engine จัดการเปิดลิ้งค์เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลอุปกรณ์กับผลิตภัณฑ์เทนเซ็นต์ คลาวด์ จึงสามารถทำการจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายดายและรวดเร็ว ประมวลคำตอบได้แบบเรียลไทม์ และประมวลและวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมหาศาลได้อย่างชาญฉลาด
ต้นทุนต่ำ

ต้นทุนต่ำ

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกมีการเรียกชำระเงินตามจำนวนข้อมูลที่ส่ง จึงมีค่าใช้จ่ายตั้งต้นน้อย นอกจากนี้ ลักษณะโครงสร้างที่บริการครบจบในที่เดียวยังช่วยประหยัดเวลาวิจัยและพัฒนา และประหยัดต้นทุนแรงงานด้วย
การจัดการข้อมูลภาพ

การจัดการข้อมูลภาพ

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกสามารถเข้าถึง RayData บริการนำเสนอภาพข้อมูล Big Data ของเทนเซ็นต์ คลาวด์ได้ โดยฟีเจอร์ดังกล่าวช่วยให้ผู้ใช้สามารถแสดงข้อมูลเป็นภาพ อธิบายบริบทข้อมูล และบริหารจัดการข้อมูลปริมาณสูงที่ได้รับการรายงานจากอุปกรณ์ IoT ได้ ผ่านการใช้เทคโนโลยีการแสดงผลข้อมูลแบบเรียลไทม์ในการอำนวยความสะดวกให้การจัดการการใช้ประโยชน์ข้อมูลแบบตรงจุด

คุณสมบัติ

การเข้าถึงอุปกรณ์

การเข้าถึง SDK

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับ SDK สำหรับระบบปฏิบัติการอย่าง Linux และ Android

 

ระบบปฏิบัติการตามเวลาจริงที่สามารถใช้ระบบปฏิบัติการอื่นร่วมด้วยได้

SDK ของระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับการทำ Porting แบบข้ามแพลตฟอร์มกับตัวกลางที่เชื่อมกับฮาร์ดแวร์ที่แยกตัวออกจากโครงสร้างโปรแกรม ช่วยให้สามารถเข้าถึงระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกได้จากแพลตฟอร์มที่หลากหลายและแตกต่างอย่างรวดเร็วและง่ายดาย

 

โปรโตคอลการถ่ายโอน

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับทั้งโปรโตคอล MQTT, CoAP, HTTP และ WebSocket เพื่อที่จะได้มีการเลือกช่องทางโปรโตคอลที่เหมาะสมให้กับทรัพยากรอุปกรณ์และรูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกันได้

 

โปรโตคอลด้านความปลอดภัย

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกดำเนินการตรวจสอบและยืนยันตัวบุคคลแบบสองทางและถ่ายโอนข้อมูลแบบเข้ารหัสระหว่างเครื่อง Client และเซิร์ฟเวอร์ตามหลักโปรโตคอลด้านความปลอดภัย อย่าง TLS และ DTLS เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดการเข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาต และการโจรกรรมและก่อกวนข้อมูล โดยมีโหมดการเข้ารหัสแบบสมมาตรหรืออสมมาตรให้เลือกตามความเหมาะสม โดยพิจารณาจากความเสี่ยงด้านความปลอดภัยที่ทรัพยากรอุปกรณ์และรูปแบบการใช้งานต้องเผชิญ

 

การอัปเกรดเฟิร์มแวร์ของอุปกรณ์

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับการอัปเกรดเฟิร์มแวร์ผ่าน OTA ทำให้สามารถทำการอัปเกรดผ่าน OTA บนเซิร์ฟเวอร์ IoT ได้ในกรณีที่เกิดความเสี่ยงด้านความปลอดภัยหรือช่องโหว่ในการปฏิบัติงานกับเฟิร์มแวร์ของอุปกรณ์ขึ้น

 

การเข้าถึงแบบใช้เทคโนโลยีเครือข่ายพลังงานต่ำ

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกสามารถทำงานร่วมกับแพลตฟอร์มเทคโนโลยีเครือข่ายพลังงานต่ำของ China Telecom และ China Mobile ได้ จึงรองรับการเข้าถึงอุปกรณ์ภายใต้การสื่อสารข้อมูลด้วยเทคโนโลยีเครือข่ายพลังงานต่ำแบบข้ามแพลตฟอร์ม

การจัดการอุปกรณ์

การจัดการวงจรชีวิตอุปกรณ์

ผู้ใช้สามารถลงทะเบียน ติดตั้งเพิ่ม ลบ หรือยุติการใช้งานอุปกรณ์ได้ภายในคอนโซลหรือผ่านทางการใช้งานชุดอุปกรณ์ SDK เพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้นก็ได้

 

สถานะอุปกรณ์

สามารถเฝ้าสังเกตสถานะอุปกรณ์ได้ตลอดกระบวนการทำงาน โดยจะมีการแจ้งเตือนทันทีหากเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นกับสถานะอุปกรณ์ โดยระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกนั้นรองรับการแสดงข้อมูลภาพและการตรวจทานข้อมูลประวัติย้อนหลังสำหรับตัวชี้วัดสำคัญของการปฏิบัติงานของอุปกรณ์ เช่น จำนวนสินค้าออนไลน์ ข้อมูล Uplink และ Downlink ข้อมูลที่มีความผิดปกติ และจำนวนครั้งใช้งาน Rule Engine

 

เครื่องมือการจัดการ

ในด้านขีดความสามารถการจัดการอุปกรณ์ในรูปแบบการใช้งาน IoT ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกทำหน้าที่ให้บริการเครื่องมือ SDK สำหรับการสร้าง การทำ Query และการปฏิบัติการที่รวดเร็วของอุปกรณ์แบบเป็นหมวดหมู่ในระบบหลังบ้านเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ โดยปัจจุบันมีการรองรับชุดอุปกรณ์แบบ Python, PHP และ JAVA

การสื่อสารของอุปกรณ์
มีการควบคุมขีดความสามารถด้านการแสดงผลและการใช้งานอย่างต่อเนื่องของการสื่อสารด้วยข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อย่างจริงจังและปลอดภัย โดยมีการรองรับฟีเจอร์ข้อมูลอย่าง QoS=0 และ QoS=1 ในโปรโตคอล MQTT และมีการรองรับระบบการจัดเก็บแบบออฟไลน์ การสื่อสารด้วยข้อมูลระหว่างอุปกรณ์จึงเป็นไปได้อย่างรวดเร็วตามหลัก Rule Engine
ฐานข้อมูลเสมือนของอุปกรณ์

ฐานข้อมูลเสมือนของอุปกรณ์ คือ สำเนาข้อมูลในรูปแบบ JSON ที่มีการแคชเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ จึงมักถูกใช้งานเพื่อบันทึกสิ่งต่อไปนี้:

  • การกำหนดค่าอุปกรณ์
  • สถานะปัจจุบันของอุปกรณ์

ในฐานะตัวกลาง ฐานข้อมูลเสมือนของอุปกรณ์สามารถทำการอัปเดทข้อมูลระหว่างอุปกรณ์และแอปพลิเคชันผู้ใช้ให้ตรงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน ดังนี้:

  • สำหรับการกำหนดค่าอุปกรณ์ แอปพลิเคชันผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนอุปกรณ์โดยตรง เพียงปรับเปลี่ยนตัวฐานข้อมูลเสมือนของอุปกรณ์บนเซิร์ฟเวอร์ ก็จะมีการเชื่อมโยงการปรับเปลี่ยนดังกล่าวเข้ากับอุปกรณ์ไปเอง และหากอุปกรณ์อยู่ในโหมดออฟไลน์ขณะมีการปรับเปลี่ยน ทันทีที่อุปกรณ์กลับสู่โหมดออนไลน์ก็จะได้รับการอัปเดทค่าอุปกรณ์ล่าสุดจากตัวเสมือนทันที
  • สำหรับสถานะของอุปกรณ์ ตัวอุปกรณ์จะมีการรายงานสถานะกลับไปยังตัวเสมือน ดังนั้น เมื่อผู้ใช้ต้องการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลมาแสดงผล ก็สามารถดึงจากตัวเสมือนได้อย่างง่ายดาย การทำงานเช่นนี้ช่วยลดการสื่อสารระหว่างเครือข่ายของอุปกรณ์และเซิร์ฟเวอร์ลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของอุปกรณ์ที่มีกำลังต่ำ
หลัก Rule Engine

กฎวากยสัมพันธ์

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับระบบปฏิบัติการวากยสัมพันธ์แบบ SQL และระบบปฏิบัติการแบบความหมายทั่วไป โดยสามารถทำการแยกวิเคราะห์ กรอง ดึง และใส่เนื้อหาของข้อมูลอุปกรณ์กลับเข้าไปใหม่ได้ผ่านทางหลักวากยสัมพันธ์ที่เรียบง่าย โดยจะมีการส่งต่อผลลัพธ์ที่ได้ไปยังบริการหลังบ้านของเทนเซ็นต์ คลาวด์ อย่าง การจัดเก็บ การประมวลคำตอบ และแหล่งข้อมูล Big Data ของเทนเซ็นต์ (Tencent Big Data Suite: TBDS) เพื่อให้ได้การเข้าถึงที่ไร้รอยต่อ

 

การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่ออุปกรณ์

เพื่อแยกข้อมูลอุปกรณ์ออกมาต่างหากและรับรองการสื่อสารที่ปลอดภัย อุปกรณ์จะสามารถแสดงผลและใช้งานข้อมูลอย่างต่อเนื่องเฉพาะกับข้อมูลในหัวข้อเดียวกันเท่านั้น โดยสามารถทำการเชื่อมต่อได้ผ่านทางฟังก์ชัน Repub ที่ทำงานตามหลัก Rule Engine

 

Importing Device Messages into Message Queue

ในฐานะที่ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกเป็นตัวเข้าถึงอุปกรณ์เพียงตัวเดียว จึงสามารถทำหน้าที่กำหนดค่าและบันทึกข้อมูลและพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงสถานะอุปกรณ์ให้กับบริการ Message Queue ของเทนเซ็นต์ คลาวด์ อย่าง CMQ และ CKafka ได้อย่างง่ายดาย จากนั้น บริการบุคคลที่สามจะสามารถรับและบริโภคข้อมูลผ่านทางอินเตอร์เฟซ SDK ของ Message Queue ซึ่งถือเป็นการเปิดใช้งานการสื่อสารข้อมูลแบบไม่มีการอัปเดทระหว่างกันของอุปกรณ์และบริการบุคคลที่สามดังกล่าว โดยจะมีการวิเคราะห์และศึกษาข้อมูลอุปกรณ์โดยการใช้ TBDS ช่วย

 

นำข้อมูลอุปกรณ์เข้าสู่ฐานข้อมูลคลาวด์

เมื่อใช้งานการกำหนดค่าที่ใช้งานสะดวกของ Rule Engine ก็ทำให้ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกสามารถบันทึกข้อมูลอุปกรณ์ให้กับบริการจัดเก็บข้อมูลที่หลากหลายของเทนเซ็นต์ คลาวด์ อย่างเทนเซ็นต์ดีบีสำหรับ MySQL เทนเซ็นต์ดีบีสำหรับมองโกดีบี และเทนเซ็นต์ดีบีสำหรับ CTSDB ได้อย่างรวดเร็ว จึงเป็นการตัดงานด้านการพัฒนาการเก็บรวบรวมวิเคราะห์และถ่ายโอนข้อมูลระดับกลางออกไป และในขณะเดียวกันก็เป็นการช่วยลดต้นทุนด้วย โดยจะมีการวิเคราะห์และศึกษาข้อมูลอุปกรณ์โดยการใช้ TBDS ช่วย

 

การเชื่อมต่อระหว่างคลาวด์และอุปกรณ์

เทนเซ็นต์ คลาวด์ให้บริการผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกัน (เช่น TBDS, RayData ฯลฯ) สำหรับรูปแบบการใช้งานที่ผู้ใช้ต้องการการประมวลผลข้อมูลอุปกรณ์เพิ่มมากขึ้น (การวิเคราะห์ Big Dtata) โดยการเชื่อมต่อโดยตรงระหว่างระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลก และผลิตภัณฑ์คลาวด์ต่างๆ จะพร้อมใช้งานเร็วๆ นี้

 

การส่งต่อข้อมูลอุปกรณ์ไปยังบริการบุคคลที่สาม

หลัก Rule Engine รองรับการกำหนดค่าการส่งต่อข้อมูลอุปกรณ์ไปยังบริการบุคคลที่สามโดยตรง จึงเป็นการช่วยให้การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์และบริการหลังบ้านของตัวเข้าถึงนั้นพร้อมใช้งานอย่างรวดเร็ว

การประมวลผลข้อมูล

การประมวลคำตอบแบบเรียลไทม์

ในอุตสาหกรรม IoT การรายงานข้อมูลปริมาณมหาศาลต้องเกิดขึ้นแบบเรียลไทม์ และธุรกิจใหญ่ๆ ก็มีโจทย์การใช้งานด้านความตรงต่อเวลาของการเฝ้าสังเกตข้อมูลสูง จึงทำให้การประมวลคำตอบแบบสตรีมและแบบเรียลไทม์มีความสำคัญสำหรับรูปแบบการใช้งานเช่นนี้ โดยมี Rule Engine ทำหน้าที่ส่งต่อข้อมูลอุปกรณ์แบบเรียลไทม์ไปยัง CKafka ซึ่งเชื่อมต่อกับการประมวลคำตอบแบบสตรีม Storm/SparkStreaming จึงเป็นการช่วยเปิดใช้งานการประมวลคำตอบข้อมูลอุปกรณ์แบบเรียลไทม์

 

การประมวลผลที่ชาญฉลาด

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกสามารถเชื่อมต่อกับ TBDS ได้ ดังนั้น เมื่อใช้ประโยชน์จากความสามารถด้านการตรวจสอบ วิเคราะห์ และจำแนกข้อมูลที่ทรงพลังของ TBDS ก็ช่วยให้สามารถประมวลผลข้อมูลนับล้านจากอุปกรณ์ IoT ได้อย่างรวดเร็วและชาญฉลาด เพื่อใช้ประโยชน์จากมูลค่าของข้อมูล พัฒนาประสิทธิภาพ และฉวยโอกาสทางการตลาดไว้

 

การแสดงผลข้อมูลด้วยภาพ

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกสามารถเข้าถึง RayData บริการนำเสนอภาพข้อมูล Big Data ของเทนเซ็นต์ คลาวด์ได้ โดยฟีเจอร์ดังกล่าวช่วยให้ผู้ใช้สามารถแสดงข้อมูลเป็นภาพ อธิบายบริบทข้อมูล และบริหารจัดการข้อมูลปริมาณสูงที่ได้รับการรายงานจากอุปกรณ์ IoT ได้ ผ่านการใช้เทคโนโลยีการแสดงผลข้อมูลแบบเรียลไทม์ในการอำนวยความสะดวกให้การจัดการการใช้ประโยชน์ข้อมูลแบบตรงจุด

 

 

การจัดการแบบร่วมมือกัน

การจัดการการเข้าถึงและการร่วมมือกันด้านทรัพยากร

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับการเข้าถึง การใช้งาน และการจัดการทรัพยากรคลาวด์ที่ปลอดภัยผ่านทาง CAM โดยสามารถทำการแยกตัวและร่วมกันของทรัพยากรคลาวด์ IoT ได้ผ่านทางการจัดการตัวตนและนโยบายของบัญชีผู้ใช้รองและผู้ร่วมงาน

การเข้าถึง SDK

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับ SDK สำหรับระบบปฏิบัติการอย่าง Linux และ Android

 

ระบบปฏิบัติการตามเวลาจริงที่สามารถใช้ระบบปฏิบัติการอื่นร่วมด้วยได้

SDK ของระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับการทำ Porting แบบข้ามแพลตฟอร์มกับตัวกลางที่เชื่อมกับฮาร์ดแวร์ที่แยกตัวออกจากโครงสร้างโปรแกรม ช่วยให้สามารถเข้าถึงระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกได้จากแพลตฟอร์มที่หลากหลายและแตกต่างอย่างรวดเร็วและง่ายดาย

 

โปรโตคอลการถ่ายโอน

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับทั้งโปรโตคอล MQTT, CoAP, HTTP และ WebSocket เพื่อที่จะได้มีการเลือกช่องทางโปรโตคอลที่เหมาะสมให้กับทรัพยากรอุปกรณ์และรูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกันได้

 

โปรโตคอลด้านความปลอดภัย

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกดำเนินการตรวจสอบและยืนยันตัวบุคคลแบบสองทางและถ่ายโอนข้อมูลแบบเข้ารหัสระหว่างเครื่อง Client และเซิร์ฟเวอร์ตามหลักโปรโตคอลด้านความปลอดภัย อย่าง TLS และ DTLS เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดการเข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาต และการโจรกรรมและก่อกวนข้อมูล โดยมีโหมดการเข้ารหัสแบบสมมาตรหรืออสมมาตรให้เลือกตามความเหมาะสม โดยพิจารณาจากความเสี่ยงด้านความปลอดภัยที่ทรัพยากรอุปกรณ์และรูปแบบการใช้งานต้องเผชิญ

 

การอัปเกรดเฟิร์มแวร์ของอุปกรณ์

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกรองรับการอัปเกรดเฟิร์มแวร์ผ่าน OTA ทำให้สามารถทำการอัปเกรดผ่าน OTA บนเซิร์ฟเวอร์ IoT ได้ในกรณีที่เกิดความเสี่ยงด้านความปลอดภัยหรือช่องโหว่ในการปฏิบัติงานกับเฟิร์มแวร์ของอุปกรณ์ขึ้น

 

การเข้าถึงแบบใช้เทคโนโลยีเครือข่ายพลังงานต่ำ

ระบบคลาวด์สำหรับรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ IoT ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกสามารถทำงานร่วมกับแพลตฟอร์มเทคโนโลยีเครือข่ายพลังงานต่ำของ China Telecom และ China Mobile ได้ จึงรองรับการเข้าถึงอุปกรณ์ภายใต้การสื่อสารข้อมูลด้วยเทคโนโลยีเครือข่ายพลังงานต่ำแบบข้ามแพลตฟอร์ม

รูปแบบการใช้

อินเตอร์เน็ตแห่งอุตสาหกรรมยานยนต์
มีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลนิสัยการขับรถ และมีการเฝ้าสังเกตสภาพชิ้นส่วนยานยนต์ เช่น ยางรถ ผ้าเบรก และเครื่องปรับอากาศ และสภาพการจราจรแบบเรียลไทม์เพื่อให้บริการคำปรึกษาด้านการจราจรได้ทันเวลา นอกจากนี้ ยังสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปรวมกับข้อมูลจากฐานข้อมูลบริษัทประกัน เพื่อช่วยผู้ใช้เลือกแผนประกันที่เหมาะสมที่สุดได้ด้วย
มีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลนิสัยการขับรถ และมีการเฝ้าสังเกตสภาพชิ้นส่วนยานยนต์ เช่น ยางรถ ผ้าเบรก และเครื่องปรับอากาศ และสภาพการจราจรแบบเรียลไทม์เพื่อให้บริการคำปรึกษาด้านการจราจรได้ทันเวลา นอกจากนี้ ยังสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปรวมกับข้อมูลจากฐานข้อมูลบริษัทประกัน เพื่อช่วยผู้ใช้เลือกแผนประกันที่เหมาะสมที่สุดได้ด้วย
อินเตอร์เน็ตแห่งอุตสาหกรรมยานยนต์